การออกแบบตัวอักษร
ตัวอักษรเป็นสื่อที่สามารถสื่อความหมาย
และทำให้ความเข้าใจมนุษย์มีมากขึ้น เมื่ออียิปต์สร้างภาพเป็นตัวอักษร มีทั้ง
เฮียโรกลิฟฟิค( HIEROGLYPHIC) เฮียราติค (HIERATIC) ดีโมติค (DEMOTIC) และ โฟนีเซียน (PHOENICIAN) เมื่อประเทศจีนมีรากฐานตัวอักษรมาจากภาพ
โดยการเอาโลหะแหลมคมแกะสลักบนตัวไม้และหิน เมื่อตัวอักษรของไมทย
ถูกสร้างเมื่อสมัยพ่อขุนรามคำแหง ประดิษฐ์อักษรโดยดัดแปลงมาจากอักษรขอม และมอญ
โครงสร้างของตัวอักษร (STRUCTURE) เส้นที่ลากเป็นตัวอักษรประกอบด้วย
1.เส้นตั้ง(VERTICAL)
2.เส้นนอน(HORIZONTAL) คือ
เส้นนอนบน เส้นนอนกลาง เส้นนอนล่าง
อักษรไทยจะมีเอกลักษณ์ คือ หัวตัวอักษร อาจจะต้องแสดงให้เห็นหรือแอบแฝง
ตัวอักษรที่ไม่มีหัว คือ ก ธ
หัวอักษรอยู่เส้นนอนบน ลักษณะหันหัวออก คือ ง ท น ป ฟ ลักษณะหะนหัวออก คือ ย ผ ฝ
หัวอักกษรอยู่เส้นนอนกลาง บางเป็น 2 ลักษณะ หันหัวออก คือ จ ฉ ฒ ด ต และ
หันหัวเข้า คือ ค ศ อ ฮ หัวอักษรที่อยุ่เส้นนอนล่างแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ หันหัวออก
คือ ฎ ฏ ภ ร ว หันหัวเข้า คือ ถ ฌ ญ ล
สัดส่วนตัวอักษร
สัดส่วน(PROPORTION)ขอบตัวอักษรภาษาไทย
ประกอบด้วยส่วนกว้างได้แก่ส่วนที่เป็นเส้นนอน
และส่วนสูงได้แก่ส่วนที่เป็นเส้นตั้ง
การกำหนดตัวอักษรคงต้องยึดถือเอา “ตัวพิมพ์”เป็นมาตรฐานเพราะตัวพิมพ์เป็นเป็นแบบที่แพร่หลายและคุ้นเคยกับสายตาและการอ่านมากที่สุด
สัดส่วนของตัวอักษรที่เป็น “ตัวพิมพ์”จะกำหนดให้ตัวที่กว้างสุดทีแค่ 9ส่วน
และความสูงตามแนวกลางตัว 8 ส่วน
สามารถแบ่งกลุ่มตัวอักษรได้ดังนี้
1.ความกว้าง 9 ส่วน เช่น
ฌ ญ ฒ ณ
2.ความกว้าง 7 ส่วน เช่น
พ ฟ ฬ
3.ความกว้าง 6 ส่วน เช่น
ก ด ต
ถ ฮ
4.ความกว้าง 5 ส่วน เช่น
ข ง จ
ช ซ
เส้นกับความรู้สึก
เส้นแต่ละเส้นที่ขีดมาเขียนขึ้นมา
จะให้ความรู้สึกอารมณ์ที่ แตกต่างกัน เช่น
1.ความเศร้า
เหนื่อยหน่าย 9.ความทะเยอทะยาน รุ่งเรือง
2.ความเกียจคร้าน 10.การเติมโต มีอุดมคติ เปิดเผย
3.ความสงบ นิ่งเฉย
ผ่อนคลาย 11.ความมั่นคง จริงจัง
4.ความแข็งแรง
หนักแน่น 12.ความเร็วพร้อมปฏิบัติ
5.ความมั่นคง
เป็นสง่า แน่นหนา แข็งแรง 13.ความศรัทธา ความหวัง
6.ความนุ่มนวล 14.ดั้งเดิม ต้นพลัง
7.การลอยตัวช้าๆ 15.การขัดแข้ง
8.ติ่นเต้น 16.กระจายออก
เส้นกับตัวอักษร
1.ตัวเส้นเรียบ มีเส้นขนาดเท่ากันตลอด
แต่ขนาดของเส้นจะหนาบาง
2.ตัวเส้นวาดเขียน
เป็นตัวอักษรที่มีเส้นหนักเส้นเบา เส้นหนาเส้นบาง
3.ตัวเส้นอิสระ
มีเส้นที่ไม่แน่นอนอาจเป็นเส้นหยัก หรือลวดลาย
และการออกแบตัวอักษรนั้นมีความหมายอยู่2อย่างคือ อย่างแรกหมายถึงการออกแบบขึ้นมาใหม่
New
Design หรือ อักษรชนิดใหม่ New Letter Forms อย่างที่สองหมายถึง การออกแบบโดยเลือกตัวอักษรหรือตัวพิมพ์ที่ออกแบบไว้
นำเอามาจัดเรียงให้มีข้อความ เป็นศิลปะการนำตัวพิมพ์มาใช้ออกแบบจัดเรียงข้อความเรียกว่า
Typography หรือ Typographic Design แบบตัวอักษรทรงใหม่ New Letter Forms
มีทรงเฉพาะโดดเด่นแยกออกจากกัน
อ่านได้ถูกแต่ละตัวคือตัวอะไรการกำหนดทรงเฉพาะและโครงสร้างของตัวอักษรขึ้นอยู่กับทักษะความเชี่ยวชาญการเขียนหรือการคัดลายมือ
การจำแนกรูปแบบตัวอักษร Type
Classification
เรียกว่าตัวพิมพ์เนื้อเรื่อง Text
Type ตัวพิมพ์เนื้อเรื่องจำเป็นต้องมีความชัดเจน
อ่านง่ายและรูปทรงส่วนงามเหมาะสมกับเนื้อหา โดยมากนิยมเลือกตัว Text Type ที่มีขนาดใหญ่กว่า 14 พอยต์
หรืออาจเลือกใช้ตัวอักษรที่ออกแบบพิเศษสำหรับจัดเรียงหัวเรื่องโดยเฉพาะ Display
Type
รูปแบบของอักษรตัวพิมพ์แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม
1.แบบโอลสไตร์ Old Style 2.แบบทรานซิเซนนัล
Transitional
3.แบบโมเดิร์น Modern 4.แบบสแลปเซอริฟ
Slab Serif
5.แบบแซนส์เซอริฟ Sans Serif 6.แบบดิสเพล
Display
1.แบบโอลสไตร์ Old Style
ลักษณะเด่นของรูปแบบตัวอักษรของกลุ่ม Old
Style
-เส้นแกนหลักแนวเฉียง
-ความแตกต่างระหว่างความหนาและความบางระดับปานกลาง
-น้ำหนักอยู่ระดับปานกลาง
-ยอดบนสุดของอักษรนำจะต่ำกว่ายอดปลาย
2.แบบทรานซิเซนนัล Transitional
ลักษณะเด่นของรูปแบบตัวอักษรของกลุ่ม Transitional
-เส้นแกนหลัก Stress
อยู่ในแนวตั้งฉาก หรือ เกือบตั้งฉาก
-มีความแตกต่างระหว่างความหนาความบาง
-เชิงอักษรปลายสุดของหางบนอยู่ในแนวเฉียงเล็กน้อย
-เชิง Serif
มีความชัดเจนมุมเหลี่ยมบางๆ
3.แบบโมเดิร์น Modern
ของรูปแบบลักษณะเด่นตัวอักษรของกลุ่ม Modern
-เส้นแกนหลัก Stress
อยู่ในแนวตั้งฉาก
-เชิงอักษร Serif
จะเป็นเส้นตรงในแนวนอน
-เชิงอักษร Serif
จะมีความบางมาก
-ขนาดของตัวอักษรค่อนข้างแคบ
4.แบบสแลปเซอริฟ Slab Serif
ลักษณะเด่นของรูปแบบตัวอักษรของกลุ่ม Slab
Serif
-เส้นอักษรหนาและมีความแตกต่างเพียงเล็กน้อยระหว่างความหนา
-สัดส่วนตัวอักษรกว้างกว่าแบบอื่นๆ
-ขนาดอักษรตัวตาม Lowercase
สูงใหญ่
-เชิงอักษร Serif มีความหนาเป็นพิเศษมากลักษณะของมุมเหลี่ยมที่สูงและหนา
5.แบบแซนส์เซอริฟ Sans Serif
ของรูปแบบลักษณะเด่นตัวอักษรของกลุ่ม Sans
Serif
-เส้นอักษรหนาเท่ากันตลอดระหว่างความหนาและความบาง
-สัดส่วนเส้นโค้งของตัวอักษรกางออกเป็นโค้งของสี่เหลี่ยมจตุรัส
-ส่วนจบที่ปลายหางของอักษรตัวใหญ่ R จะเป็นเส้นโค้งงอ
-อักษรตัวนำ G จะมี Spurอักษร ตัวตาม g จะมีหางเป็นเปิด Open-tailed
6.แบบดิสเพล Display
ตัวพิมพ์ตัวสุดท้ายคือ Display
ถูกออกแบบเพื่อมุ่งเน้นการใช้งานด้านการจัดแต่งหัวเรื่อง โดยเฉพาะ
รูปทรงและโครงสร้างของตัวอักษรจะเป็นลายเส้นที่มีลักษณะสะดุดตา
หนามากหรือบางมากเป็นพิเศษ ใส่ประดับลวดลาย ลายเส้นมีลีลาซับซ้อน
เพิ่มความหนาของแสงเงา สร้างรูปทรงเป็น 3 มิติ
เพราะรูปทรงตัว Display แต่ละรูปแบบจะสะท้อนให้เข้าใจ
ความรู้สึก
By electronic processes does not necessarily restrict
creativity or limit choice.
Digital technology open up new possibilities for the
designer: typeface development,the positioning and repositioning of the
elements of a design, the sourcing and manipulation of images,and
theunprecedented speed with which change.
โดยกระบวนการอิเล็กทรอนิกส์ไม่จำเป็นต้อง จำกัด
การคิดสร้างสรรค์หรือ จำกัด ทางเลือก
เทคโนโลยีดิจิตอลเปิดโอกาสใหม่สำหรับการออกแบบและการพัฒนาแบบอักษร, การวางตำแหน่งและการจัดตำแหน่งขององค์ประกอบของการออกแบบการจัดหาและการจัดการของภาพและความเร็วเป็นประวัติการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
Future editions of typographics will continue to focus on
changing trends in design and will draw
on an even broader range of sources. As technological developments further
influence typography and as older traditions are reassessed and
reappropriated,the most inspiring results will be celebrated here
ในอนาคต จะยังคงให้ความสำคัญกับการเปลี่ยนแปลงในการออกแบบและจะวาดในช่วงกว้างของแหล่งที่มา
.ในฐานะที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาเทคโนโลยีต่อการพิมพ์และการประเมิน ผลการสร้างแรงบันดาลใจ
Techniqus เทคนิค
Beautiful pieces of calligraphy and richly decorated
manuscripys can be daunting to the aspiring calligrapher ,but learning to use
these as sources of inspiration and reference is not difficult. Breaking down
the overall picture of an image , or series of images, helps to identify the
constituents that make up a work of art
ความสวยงามของการประดิษฐ์ตัวอักษรต้นฉบับสามารถ
ที่จะใช้เหล่านี้เป็นแหล่งที่มาของแรงบันดาลใจและการอ้างอิงได้ไม่ยาก ทำลายลงภาพรวมของภาพหรือชุดของภาพ, ช่วยในการระบุองค์ประกอบที่ทำให้งานศิลปะ
Developing this skill in the novice calligrapher is
precisely the Aim of this book. The
first half of the book contributes to
Removing some the art’s mystery, showing how what Seems impossible can in fact be achieved.
The techniques Explored each explain
diffalent aspects of the subject.
การพัฒนาทักษะนี้เริ่มต้นแม่นยำจุดมุ่งหมายของหนังสือเล่มนี้
ในช่วงครึ่งแรกของหนังสือเล่มนี้มีส่วนช่วยในการถอดลึกลับศิลปะที่แสดงให้เห็นว่าสิ่งที่ดูเหมือนเป็นไปไม่ได้สามารถให้เป็นจริงจะประสบความสำเร็จเ
ทคนิคการสำรวจแต่ละลักษณะที่แตกต่าง
วัฒนะ จูฑะวิภาศ,การออกแบบ,สำนักพิมพ์ปรารถนา, กรุงเทพฯ (2527)
กำธร สถิรกุล ศาสตร์,ลายสือไทย 700 ปี, องค์การค้าของคุรุสภา,
กรุงเทพฯ (2527)
วิรุณ ตั้งเจริญ, การออกแบบ,
สำนักพิมพ์ วิฌวลอาร์ต, กรุงเทพฯ (2527)
อดุลย์ จาตุรงคกุล, การโฆษณา,
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2518)
นิทรรศการ มัณฑนศิลป์ 27, คณะมัณฑนศิลป์
มหาวิทยาลัยศิลปากร (2527)
คำบรรยายวิชาอักษรเทคนิค, วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา
วิทยาลัยเพาะช่าง (2526)
คำบรรยายวิชาพาณิชยศิลป์, วิทยาลัยอาชีวศึกษา เสวภา
(2526)
อักษรลอกฟีนทาเซ็ท, ฟีนทาเซ็ต (ประเทศไทย) 2527
แบบอักษรไทย, MECANORMA, บริษัท ดี.เอช.เอ สยามวาลา
จำกัด
RAYMOND A. BALLINGER ; LETTERINGART IN MODERN USE, REINHOLD
PUBLISHING CORPORATION, U.S.A. 1956
ARTHUR BAKER ; CALLIGRAPHY,DOVER PUBLICATION, INC., NEW YORK
1965
ALLEN HURLBURT ;
PUBLICATION DESIGN VAN NOSTRAND REINHOLD, AUSTRALIA 1976
CREATIVITY 5, ART DIRECTION BOOK COMPANY,NEW YORK 1975
หนังสือพิมพ์รายวัน ไทยรัฐ,
เดลินิวส์, สยามรัฐ และ บ้านเมือง
นิตรสารรายงานสัปดาห์ ดาราภาพยนต์, โลกดารา, ภาพยนตร์บันเทิงและสยามรัฐสัปดาห์จารณ์
นิตยสารรายเดิอน คู่แข่ง,บ้านและสวน,ตกแต่ง และ เฟอร์นิเจอร์
Jean Larcher. FANTASTIC ALPHABETS. Dover Publications, Inc.
New York, 1976.
DAN X. SOLO. CIRCUS ALPHABETS. Dover Publications, Inc. New
York, 1989.
Arthur Newhall. CALLIGRAPHY. Walter Foster Publications,
Inc. Printed in the United States of America, 1990.
DAN X. SOLO. PATTERN ALPHABETS. Dover Publications, Inc. New
York, 1994
DAN X. SOLO. CLASSIC TYPE FACES AND HOW TO USE THEM. Dover
Publications,Inc. New York. 1995.
โกสุม สายใจ. การออกแบบนิเทศศิลป์.
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต, 2537.
นิพนธ์ ทวีกาญจน์.
การเขียนตัวอักษรและภาพประกอบตัวอักษร. สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์, 2523.
ศาศวัต เกตุม และ คณะ. ออกแบบอักษร. อาร์ต
ไดเรคโทริ พับลิเคฌัน, 2536.
สุพร ชัยเดชสุริยะ.
ความรู้เกี่ยวกับการผลิตวัสดุกราฟิก. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรพงศ์ วรชาติอุดมพงศ์.
ออกแบบกราฟิค. สำนักพิมพ์ ศิลปาบรรณาคาร, 2540.
ชุมศรี ศิวะศริยานนท์. สถาปัตยกรรมพื้นฐาน
สำหรับช่างเทคนิค. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น), 2541.
ฝ่ายกลุ่มวิจัยและพัฒนาสาขาสารสมเทศ
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2544.
New York; Hasting House Publishers, 1981
Searfoss, Glenn, The Computer Font Book, Osbome; McGraw-Hill, 1993.
Shibata, Kaori and Toru Hachiga, NewTypo Graphics, Tokyo:
P.I.E. Books, 1993
Shinkosha, Seibundo, Typography Today, Tokyo: Seibundo
Shinkosha Publishing Co. Ltd., 1980 Spencer, Herbert,
Pioneers of Modern Typography, London: Lund Humphries, 1982
หนังสือที่ใช้สืบค้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น